Q=สัมประสิทธิการส่งผ่านความร้อน
U= สัมประสิทธิการถ่ายความร้อน
A=พื้นที่การถ่ายเทความร้อน
T=อุณหภูมิห้อง
ตัวอย่าง ห้องนอนกว้าง 5 เมตร ยาว 6 เมตร จำนวน 1 ห้อง
ขนาดห้องกว้าง 5 เมตร x ยาว 6 เมตร = พื้นที่ 30 ตรม.
สูตรคำนวณหา Btu ของแอร์ = 800 x กว้าง x ยาว = 800 x 5 x 6
ห้องนี้ต้องใช้แอร์ขนาด = 24,000 Btu เป็นอย่างน้อย
คำนวณโดยการเปรียบเทียบระหว่างฉนวนใยแก้ว กับ PUโฟม
ค่าU ของฉนวนใยแก้วหุ้มฟรอยล์ ที่ความหนา 2 นิ้ว เท่ากับ0.038 BTU/ft2hf
ค่า U ของฉนวน PU โฟมที่ความหนา 1นิ้ว เท่ากับ 0.137 BTU/ ft2hf
อุณหภูมิในการทดสอบ อยู่ที่ 40 องศา c
ห้องที่ใช้ใยแก้วปูที่เพดานห้อง | ห้องที่ฉีดด้วยฉนวน PU โฟม |
สูตร Q= UAT | สูตร Q= UAT |
Q = 0.038 X 24,000 x 40 | Q = 0.137 X 24,000 X 40 |
Q = 36,480 Btu | Q = 13,152 Btu |
เปรียบเทียบค่าสัมประสิทิการส่งผ่านความร้อนระหว่างใยแก้ว กับ PU โฟม 36,480 - 13,152 = 23,328 Btu.h.
แสดงว่า PU โฟม มีค่าสัมประสิทธิ ต่ำกว่าใยแก้ว 23,328 Btu .h.
หมายเหตุ 1 ตันความเย็น เท่ากับ 12,560 Btu ดังนั้น 23,328 / 12,560 = 1.86 ตันความเย็น
การใช้ฉนวนPU โฟมสามารถลดขนาดของเครื่องปรับอากาศได้ 1.86 ตันความเย็น
เครื่องปรับอากาศ 1 ตันใช้ค่าพลังงานไฟฟ้าประมาณ 1.25 kw. ปัจจุบันค่าไฟฟ้า KWH ละ 3.75 บาท
กรณีเปิดเครื่องปรับอากาศ 8 ชั่วโมงมีค่าใช้จ่ายดังนี้
กรณีใยแก้ว 36,480/12,560 = 2.91 ตันความเย็น
2.91 x 1.25 x 3.75 x 8 = 109.13 บาท หรือ 13.65 บาท / ชั่วโมง
กรณี PU โฟม 13,152 / 12,560 = 1.05 ตันความเย็น
1.05 x 1.25 x 3.75 x 8 = 39.38 บาท หรือ 4.93 บาท / ชั่วโมง
การเปิดเครื่องปรับอากาศโดยมีใยแก้วเป็นฉนวน วันละ8 ชั่วโมงทุกวัน 1 ปี จะมีค่าไฟฟ้าประมาณ
109.13 x 365 = 39, 832.45 บาท
การเปิดเครื่องปรับอากาศโดยมี PU โฟมเป็นฉนวน วันละ8 ชั่วโมงทุกวัน 1 ปี จะมีค่าไฟฟ้าประมาณ
39.38 x 365 = 14,373.70 บาท
สรุป การใช้ PU โฟม เป็นฉนวนกันความร้อนสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายดังนี้
1. ค่าเครื่องปรับอากาศ
ห้องที่ใช้ PU โฟมสามารถลดประมาณ Btu ของแอร์ลง 23,328 Btu คิด ราคาแอร์ 20,000 Btu ที่ราคา 50,000 บาท ดังนั้นจึงเป็นค่าแอร์ เท่ากับ 50,000x23,328/ 20,000 =58,320 บาท
2. ค่าไฟฟ้า
หากเปิดแอร์เป็นประจำทุกวันๆละ 8 ชั่วโมง เป็นเวลา 1 ปี PU โฟมจะประหยัดค่าไฟฟ้าเท่ากับ 39,832.45 - 14,373.70 = 25,458.75 บาท